10) รูปแบบของสื่อหลายมิติในการเรียนการสอนประกอบด้วยอะไรบ้าง
(1) http://images.minint.multiply.multiplycontent.com/%20%20สื่อหลายมิติ(Hypermedia) เป็นการขยายแนวความคิดของข้อความหลายมิติในเรื่องของการนำเสนอข้อมูลในลักษณะไม่เป็นเส้นตรง และเพิ่มความสามารถในการบรรจุข้อมูลในลักษณะของภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน์ ภาพกราฟิกที่เป็นภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติ ภาพถ่าย เสียงพูด เสียงดนตรีเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้ผู้ใช้หรือผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหาเรื่องราวในลักษณะต่างๆได้หลายรูปแบบมากขึ้นกว่าเดิม
(2) http://ninlawan15.blogspot.com/%20%20%20%20สื่อหลายมิติ (Hypermedia) เป็นเทคนิคที่ต้องการใช้สื่อผสมอื่นๆที่คอมพิวเตอร์สามารถนำเสนอได้ในรุปแบบต่างๆได้ทั้งข้อความ เสียง ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว
(3) http://learners.in.th/%20%20%20สื่อหลายมิติ เป็นการขยายแนวความคิดของข้อความหลายมิติในเรื่องราวของการเสนอข้อมูลในลักษณะไม่เป็นเส้นตรงและเพิ่มความสามารถในการบรรจุข้อมูลในลักษณะของภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน์ ภาพกราฟิกในลักษณะภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพถ่าย เสียงพูด เสียงดนตรีเข้าไว้ในเนื้อหาด้วย เพื่อให้ผู้เรียนเข้าถึงเนื้อหาเรื่องราวในลักษณะต่างๆได้หลายรูปแบบกว่าเดิม
สรุป
สื่อหลายมิติ(Hypermedia) เป็นเทคนิคที่ต้องการใช้สื่อผสมอื่นๆที่คอมพิวเตอร์สามารถนำเสนอได้ในรูปแบบต่างๆได้ทั้ง ภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน์ ภาพกราฟิกที่เป็นภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติ ภาพถ่าย เสียงพูด เสียงดนตรีเข้าไว้ด้วยกัน
อ้างอิง
http://images.minint.multiply.multiplycontent.com/
http://ninlawan15.blogspot.com/
http://learners.in.th/
วันพฤหัสบดีที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2553
9) สื่อประสม คืออะไร
9) สื่อประสม คืออะไร
(1) ขวัญจิตร ภินโญชีพ (2534:115) ให้ความหมายว่า สื่อประสมเป็นการนำสื่อการสอนหลายอย่างมาสัมพันธ์กันเมื่อถ่ายทอดเนื้อหาสาระในลักษณะที่แต่ละชิ้นส่งเสริมสนับสนุนกันและกัน
(2) วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551:23) กล่าวว่าการนำสื่อที่หลากหลายที่มีความสัมพันธ์กันมีคุณค่าในตัวของมันเองสื่อบางชนิดใช้ในการนำเข้าสู่บทเรียนได้ดีสื่อบางชนิดใช้ให้เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งจะช่วยให้ตัวผู้เรียนมีประสบการณ์จากประสาทสัมผัสที่ผสมผสานกัน
(3) วารินทร์ รัศมีพรหม (2531:108) กล่าวว่า การรวมเอาสื่อแต่ละชนิดหรือรูปแบบของสื่อนั้นๆให้บูรณาการเข้าด้วยกันมีโครงสร้างที่ดีและมีระบบในการนำเสนอสื่อแต่ละชนิดจะต้องออกมาเพื่อเสริมสื่อชนิดอื่นๆเพื่อทำให้ระบบสื่อประสมอันเป็นผลรวมนั้นมีคุณค่ามากยิ่งขึ้น
สรุป
สื่อประสม เป็นการนำเอาสื่อการสอนที่หลากหลายที่มีความสัมพันธ์กันมาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อส่งเสริมสื่อชนิดอื่นๆเพื่อทำให้ระบบสื่อประสมมีคุณค่ามากยิ่งขึ้น
อ้าอิง
ขวัญจิตร ภินโญชีพ. (2534). หลักการและทฤษฎีเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา.
(ไม่ระบุโรงพิมพ์).
วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551).สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้.ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.
วารินทร์ รัศมีพรหม (2531).สื่อการสอนเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอนร่วมสมัย.
กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์.
(1) ขวัญจิตร ภินโญชีพ (2534:115) ให้ความหมายว่า สื่อประสมเป็นการนำสื่อการสอนหลายอย่างมาสัมพันธ์กันเมื่อถ่ายทอดเนื้อหาสาระในลักษณะที่แต่ละชิ้นส่งเสริมสนับสนุนกันและกัน
(2) วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551:23) กล่าวว่าการนำสื่อที่หลากหลายที่มีความสัมพันธ์กันมีคุณค่าในตัวของมันเองสื่อบางชนิดใช้ในการนำเข้าสู่บทเรียนได้ดีสื่อบางชนิดใช้ให้เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้งจะช่วยให้ตัวผู้เรียนมีประสบการณ์จากประสาทสัมผัสที่ผสมผสานกัน
(3) วารินทร์ รัศมีพรหม (2531:108) กล่าวว่า การรวมเอาสื่อแต่ละชนิดหรือรูปแบบของสื่อนั้นๆให้บูรณาการเข้าด้วยกันมีโครงสร้างที่ดีและมีระบบในการนำเสนอสื่อแต่ละชนิดจะต้องออกมาเพื่อเสริมสื่อชนิดอื่นๆเพื่อทำให้ระบบสื่อประสมอันเป็นผลรวมนั้นมีคุณค่ามากยิ่งขึ้น
สรุป
สื่อประสม เป็นการนำเอาสื่อการสอนที่หลากหลายที่มีความสัมพันธ์กันมาบูรณาการเข้าด้วยกันเพื่อส่งเสริมสื่อชนิดอื่นๆเพื่อทำให้ระบบสื่อประสมมีคุณค่ามากยิ่งขึ้น
อ้าอิง
ขวัญจิตร ภินโญชีพ. (2534). หลักการและทฤษฎีเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา.
(ไม่ระบุโรงพิมพ์).
วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551).สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้.ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.
วารินทร์ รัศมีพรหม (2531).สื่อการสอนเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอนร่วมสมัย.
กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์.
8. สื่อการสอน คืออะไร
8. สื่อการสอน คืออะไร
(1) ชาญชัย ยมดิษฐ์ (248:417) หมายถึง ตัวกลางเชื่อมโยงความรู้ความเข้าใจระหว่างสารที่ผู้สอนส่งไปยังผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่ผู้สอนกำหนดไว้
(2) วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551:12) สื่อการสอน หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์หรืออาจจะเป็นวิธีการที่เป็นตัวกลางถ่ายทอดในการสื่อความหมายเพื่อให้รับรู้ทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสารมีความเข้าใจที่ตรงกัน
(3) วาสนา ชวนหาเวช (2533:112) ได้ให้ทัศนะว่าสื่อการสอนหมายถึง วัสดุ อุปกรณ์และวิธีการที่ใช้เป็นสื่อกลางให้ผู้สอนส่งหรือสามารถถ่ายทอดความรู้เจตคติ (อารมณ์ ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ ค่านิยมและทักษะไปยังผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ)
สรุป
สื่อการสอน หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์หรืออาจจะเป็นตัวกลางเชื่อมโยงความรู้ความเข้าใจระหว่างสารที่ผู้สอนไปยังผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่ผู้สอนกำหนดไว้ เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน
อ้างอิง
ชาญชัย ยมดิษฐ์. (2548). เทคนิคและวิธีการสอนร่วมสมัย.กรุงเทพฯ: หลักพิมพ์
วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551).สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้.ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.
วาสนา ชวนหาเวช. (2533). สื่อการเรียนการสอน.กรุงเทพฯ: โอเดียนโตร์.
(1) ชาญชัย ยมดิษฐ์ (248:417) หมายถึง ตัวกลางเชื่อมโยงความรู้ความเข้าใจระหว่างสารที่ผู้สอนส่งไปยังผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่ผู้สอนกำหนดไว้
(2) วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551:12) สื่อการสอน หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์หรืออาจจะเป็นวิธีการที่เป็นตัวกลางถ่ายทอดในการสื่อความหมายเพื่อให้รับรู้ทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสารมีความเข้าใจที่ตรงกัน
(3) วาสนา ชวนหาเวช (2533:112) ได้ให้ทัศนะว่าสื่อการสอนหมายถึง วัสดุ อุปกรณ์และวิธีการที่ใช้เป็นสื่อกลางให้ผู้สอนส่งหรือสามารถถ่ายทอดความรู้เจตคติ (อารมณ์ ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ ค่านิยมและทักษะไปยังผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ)
สรุป
สื่อการสอน หมายถึง วัสดุและอุปกรณ์หรืออาจจะเป็นตัวกลางเชื่อมโยงความรู้ความเข้าใจระหว่างสารที่ผู้สอนไปยังผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามวัตถุประสงค์ที่ผู้สอนกำหนดไว้ เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน
อ้างอิง
ชาญชัย ยมดิษฐ์. (2548). เทคนิคและวิธีการสอนร่วมสมัย.กรุงเทพฯ: หลักพิมพ์
วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551).สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้.ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.
วาสนา ชวนหาเวช. (2533). สื่อการเรียนการสอน.กรุงเทพฯ: โอเดียนโตร์.
7) เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีบทบาทในการศึกษามีอะไรบ้างและแต่ละอย่างเป้นอย่างไร
7) เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีบทบาทในการศึกษามีอะไรบ้างและแต่ละอย่างเป้นอย่างไร
(1) http://images.taesocial.multiply.multiplycontent.com/ เทคโนดลยีสารสนเทศได้มีบทบาทต่อการศึกษาอย่างมากโดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และการสื่อสารโทรคมนาคมมีบทบาทที่สำคัญต่อการพัฒนาการศึษาดังนี้
1. เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามีส่วนช่วยเรื่องการเรียนรู้หลายด้านมีระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ระบบสนับสนุนการรับรู้ข่าวสาร
2. เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษา โดยเฉพาะการจัดการศึกษาสมัยใหม่ จำเป็นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผน การดำเนินการ
3. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการสื่อสารระหว่างบุคคลในเกือบทุกวงการทั้งทางด้านการศึกษาจำเป็นต้องอาศัยสื่อสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคล เช่น การสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
4. พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเกิดการศึกษาในรูปแบบใหม่ กระตุ้นความสนใจแก่ผู้เรียน โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในการสอนและการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ ทำให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น
(2) http://school.obec.go.th/%20%20%20เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อการศึกษาอย่างมาก โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และการสื่อสารโทรคมนาคมมีบทบาทที่สำคัญต่อการพัฒนาการศึกษาเทคโนโลยีที่มีบทบาทสำคัญต่อการศึกษาประกอบด้วย
1. เทคโนโลยีที่เข้ามีส่นช่วยในเริ่งการเรียนรู้ปัจจุบันมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้หลายอย่าง มีระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีระบบมัลติมีเดีย ระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์และอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
2. เทคโนโลยีที่เข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษาในการจัดการศึกษาสมัยใหม่จำเป็นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผนการดำเนินการ การติดตามและประเมินผลคอมพิวเตอร์
3. เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยให้การสื่อสารระหว่างบุคคลเกือบทุกวงการ ทั้งทางด้านการศึกษาจำเป็นต้องอาศัยการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน เป็นต้น
(3) http://www.kroobannok.com/
1. เทคโนโลยีที่เข้ามามีส่วนช่วยในเรื่องการเรียนรู้ปัจจุบันมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้หลายอย่าง มีระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีระบบมัลติมีเดีย ระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์และอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
2. เทคโนโลยีที่เข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษาในการจัดการศึกษาสมัยใหม่จำเป็นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผนการดำเนินการ การติดตามและประเมินผลคอมพิวเตอร์
3. เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยให้การสื่อสารระหว่างบุคคลเกือบทุกวงการ ทั้งทางด้านการศึกษาจำเป็นต้องอาศัยการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน เป็นต้น ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการเรียนการสอน
สรุป
เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีบทบาทในการศึกษา 4 ข้อดังนี้
1. เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ระบบมัลติมีเดีย ระบบวีดิโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ และอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
2. เทคโนโลยีเข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษาในเรื่อง การวางแผนการดำเนินการ การติดตามและประเมินผลคอมพิวเตอร์
3. เทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้การสื่อสารระหว่างบุคคลในเรื่อง การสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน เป็นต้น
4. พัฒนาคุณภาพการศึกษาโดย กระตุ้นความสนใจแก่ผู้เรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในการสอนและการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์
อ้างอิง
http://images.taesocial.multiply.multiplycontent.com/
http://school.obec.go.th/
http://www.kroobannok.com/
(1) http://images.taesocial.multiply.multiplycontent.com/ เทคโนดลยีสารสนเทศได้มีบทบาทต่อการศึกษาอย่างมากโดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และการสื่อสารโทรคมนาคมมีบทบาทที่สำคัญต่อการพัฒนาการศึษาดังนี้
1. เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามีส่วนช่วยเรื่องการเรียนรู้หลายด้านมีระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ระบบสนับสนุนการรับรู้ข่าวสาร
2. เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษา โดยเฉพาะการจัดการศึกษาสมัยใหม่ จำเป็นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผน การดำเนินการ
3. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการสื่อสารระหว่างบุคคลในเกือบทุกวงการทั้งทางด้านการศึกษาจำเป็นต้องอาศัยสื่อสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคล เช่น การสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
4. พัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเกิดการศึกษาในรูปแบบใหม่ กระตุ้นความสนใจแก่ผู้เรียน โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในการสอนและการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ ทำให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น
(2) http://school.obec.go.th/%20%20%20เทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทต่อการศึกษาอย่างมาก โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และการสื่อสารโทรคมนาคมมีบทบาทที่สำคัญต่อการพัฒนาการศึกษาเทคโนโลยีที่มีบทบาทสำคัญต่อการศึกษาประกอบด้วย
1. เทคโนโลยีที่เข้ามีส่นช่วยในเริ่งการเรียนรู้ปัจจุบันมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้หลายอย่าง มีระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีระบบมัลติมีเดีย ระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์และอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
2. เทคโนโลยีที่เข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษาในการจัดการศึกษาสมัยใหม่จำเป็นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผนการดำเนินการ การติดตามและประเมินผลคอมพิวเตอร์
3. เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยให้การสื่อสารระหว่างบุคคลเกือบทุกวงการ ทั้งทางด้านการศึกษาจำเป็นต้องอาศัยการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน เป็นต้น
(3) http://www.kroobannok.com/
1. เทคโนโลยีที่เข้ามามีส่วนช่วยในเรื่องการเรียนรู้ปัจจุบันมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้หลายอย่าง มีระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีระบบมัลติมีเดีย ระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์และอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
2. เทคโนโลยีที่เข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษาในการจัดการศึกษาสมัยใหม่จำเป็นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผนการดำเนินการ การติดตามและประเมินผลคอมพิวเตอร์
3. เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยให้การสื่อสารระหว่างบุคคลเกือบทุกวงการ ทั้งทางด้านการศึกษาจำเป็นต้องอาศัยการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน เป็นต้น ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการเรียนการสอน
สรุป
เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีบทบาทในการศึกษา 4 ข้อดังนี้
1. เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ระบบมัลติมีเดีย ระบบวีดิโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ และอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
2. เทคโนโลยีเข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษาในเรื่อง การวางแผนการดำเนินการ การติดตามและประเมินผลคอมพิวเตอร์
3. เทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้การสื่อสารระหว่างบุคคลในเรื่อง การสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน เป็นต้น
4. พัฒนาคุณภาพการศึกษาโดย กระตุ้นความสนใจแก่ผู้เรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในการสอนและการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์
อ้างอิง
http://images.taesocial.multiply.multiplycontent.com/
http://school.obec.go.th/
http://www.kroobannok.com/
5. เทคโนโลยี หมายถึงอะไร
5. เทคโนโลยี หมายถึงอะไร
(1) วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551:39) เทคโนโลยี หมายถึง วิทยาการที่นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม
(2) วารินทร์ รัศมีพรหม (2531:2) เทคโนโลยี หมายถึง 1.เทคโนโลยีในฐานะที่เป็นกระบวนการเป็นการประยุกต์วิทยาศาสตร์อย่างมีระบบหรือจัดความรู้อย่างมีระบบ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ 2.เทคโนโลยีในฐานะที่เป็นผลผลิต หมายถึง เครื่องมืออุปกรณ์หรือวัสดุที่เป็นผลผลิตจากการใช้กระบวนการด้านเทคโนโลยี 3.เทคโนโลยีในฐานะที่ผสมผสานทั้งกระบวนการและผลผลิต
(3) สมหญิง เจริญจิตรกรรม (2525:10) เทคโนโลยี หมายถึง การนำเอากระบวนการ วิธีการและแนวความคิดใหม่ๆมาใช้หรือประยุกต์เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่องานในด้านต่างๆและสังคม
สรุป
เทคโนโลยี หมายถึง วิทยาการที่นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้หรือประยุกต์เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่องานในด้านต่างๆและสังคม
อ้างอิง
วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551).สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้.ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.
วารินทร์ รัศมีพรหม (2531).สื่อการสอนเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอนร่วมสมัย.กรุงเทพฯ:ชวนพิมพ์
สมหญิง เจริญจิตรกรรม (2525).เทคโนโลยีทางการศึกษาเบื้องต้น.กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยศิลปากร
(1) วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551:39) เทคโนโลยี หมายถึง วิทยาการที่นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม
(2) วารินทร์ รัศมีพรหม (2531:2) เทคโนโลยี หมายถึง 1.เทคโนโลยีในฐานะที่เป็นกระบวนการเป็นการประยุกต์วิทยาศาสตร์อย่างมีระบบหรือจัดความรู้อย่างมีระบบ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ 2.เทคโนโลยีในฐานะที่เป็นผลผลิต หมายถึง เครื่องมืออุปกรณ์หรือวัสดุที่เป็นผลผลิตจากการใช้กระบวนการด้านเทคโนโลยี 3.เทคโนโลยีในฐานะที่ผสมผสานทั้งกระบวนการและผลผลิต
(3) สมหญิง เจริญจิตรกรรม (2525:10) เทคโนโลยี หมายถึง การนำเอากระบวนการ วิธีการและแนวความคิดใหม่ๆมาใช้หรือประยุกต์เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่องานในด้านต่างๆและสังคม
สรุป
เทคโนโลยี หมายถึง วิทยาการที่นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้หรือประยุกต์เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่องานในด้านต่างๆและสังคม
อ้างอิง
วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551).สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้.ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.
วารินทร์ รัศมีพรหม (2531).สื่อการสอนเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอนร่วมสมัย.กรุงเทพฯ:ชวนพิมพ์
สมหญิง เจริญจิตรกรรม (2525).เทคโนโลยีทางการศึกษาเบื้องต้น.กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยศิลปากร
4. นวัตกรรมทางการศึกษา คืออะไร
4. นวัตกรรมทางการศึกษา คืออะไร
(1) บุญเกื้อ ควรหาเวช (2542:12) นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง เป็นการนำเอาสิ่งใหม่ๆซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำรวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาเพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
(2) วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551:5) นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง การนำเอาความคิด หรือวิธีปฏิบัติทางการศึกษาใหม่ๆมาใช้กับการศึกษา
(3) อลิศรา ชูชาติ (2549:19) นวัตกรรมการศึกษา คือ ความใหม่ในด้านการศึกษา อาจเป็นแนวคิดใหม่ทางการศึกษา เป็นทฤษฎีใหม่ เป็นวิธีสอนใหม่ เทคนิคการสอนใหม่ รวมทั้งการนำเสนอสาระด้วยสื่อใหม่ๆ
สรุป
นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง การนำเอาสิ่งใหม่ๆ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิด การกระทำ วิธีปฏิบัติ ทฤษฎี เทคนิคการสอน การนำเสนอสาระด้ายสื่อ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์เข้ามาใช้ในระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
อ้างอิง
บุญเกื้อ ควรหาเวช (2542).นวัตกรรมการศึกษา.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551).สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้.ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.
อลิศรา ชูชาติ (2549).นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวปฏิรูป.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
(1) บุญเกื้อ ควรหาเวช (2542:12) นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง เป็นการนำเอาสิ่งใหม่ๆซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทำรวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาเพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
(2) วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551:5) นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง การนำเอาความคิด หรือวิธีปฏิบัติทางการศึกษาใหม่ๆมาใช้กับการศึกษา
(3) อลิศรา ชูชาติ (2549:19) นวัตกรรมการศึกษา คือ ความใหม่ในด้านการศึกษา อาจเป็นแนวคิดใหม่ทางการศึกษา เป็นทฤษฎีใหม่ เป็นวิธีสอนใหม่ เทคนิคการสอนใหม่ รวมทั้งการนำเสนอสาระด้วยสื่อใหม่ๆ
สรุป
นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง การนำเอาสิ่งใหม่ๆ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิด การกระทำ วิธีปฏิบัติ ทฤษฎี เทคนิคการสอน การนำเสนอสาระด้ายสื่อ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์เข้ามาใช้ในระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
อ้างอิง
บุญเกื้อ ควรหาเวช (2542).นวัตกรรมการศึกษา.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551).สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้.ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.
อลิศรา ชูชาติ (2549).นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวปฏิรูป.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3.นวัตกรรม คืออะไร
3.นวัตกรรม คืออะไร
(1) บุญเกื้อ ควรหาเวช (2542:12) นวัตกรรม หมายถึง การนำสิ่งใหม่ๆเข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมวิธีการที่ทำอยู่เดิมเพื่อให้ใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น
(2) วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551:257) นวัตกรรม หมายถึง ความคิดหรือการกระทำใหม่ๆที่นำมาใช้แก้ปัญหาในการปฏิบัติงานด้านต่างๆ
(3) http://tikkatar.is.in.th/ “นวัตกรรม” หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนำ นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทำงานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วย ประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย
สรุป
นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆที่นำมาใช้แก้ปัญหาในการทำงานเพื่อให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
อ้างอิง
บุญเกื้อ ควรหาเวช (2542).นวัตกรรมการศึกษา.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551).สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้.ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.
http://tikkatar.is.in.th/
(1) บุญเกื้อ ควรหาเวช (2542:12) นวัตกรรม หมายถึง การนำสิ่งใหม่ๆเข้ามาเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมวิธีการที่ทำอยู่เดิมเพื่อให้ใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น
(2) วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551:257) นวัตกรรม หมายถึง ความคิดหรือการกระทำใหม่ๆที่นำมาใช้แก้ปัญหาในการปฏิบัติงานด้านต่างๆ
(3) http://tikkatar.is.in.th/ “นวัตกรรม” หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เมื่อนำ นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทำงานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วย ประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย
สรุป
นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆที่นำมาใช้แก้ปัญหาในการทำงานเพื่อให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
อ้างอิง
บุญเกื้อ ควรหาเวช (2542).นวัตกรรมการศึกษา.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรวิทย์ นิเทศศิลป์ (2551).สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้.ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์.
http://tikkatar.is.in.th/
2) มีทฤษฎีอะไรบ้างที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ และแต่ละทฤษฎีเป็นอย่างไร
2) มีทฤษฎีอะไรบ้างที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ และแต่ละทฤษฎีเป็นอย่างไร
(1) http://gotoknow.org/file/phrakhruniwitthurathon/noi.lpg.doc ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ มีดังนี้
1. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
แนวความคิดของกลุ่มนี้ถือว่าสิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์จะเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมและการเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อมีการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสอง
2. ทฤษฎีความรู้ความเข้าใจหรือทฤษฎีปัญญา (Cognitive Theories)
แนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มนี้มีความเห็นว่าการศึกษาพฤติกรรมควรเน้นความสำคัญของกระบวนการคิดและการรับรู้ของคน
3. ทฤษฎีของกลุ่มมนุษย์นิยม (Humanisticism )
กลุ่มมนุษย์นิยมจะคำนึงความเป็นคน จะมองธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะที่ว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมกับความดีที่ติดตัวมาแต่เกิด มนุษย์เป็นผู้ที่มีอิสระสามารถที่จะนำตนเองและพึ่งตนเองได้
4. ทฤษฎีผสมผสาน (Integratd Theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการผสมผสานหลักการเรียนรู้ตามทฤษฎีต่างๆ เข้ามาร่วมกันเพื่อทำให้นักเรียนสามารถเลือกใช้หรือเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ซึ่งทั้งหมดนี้จะต้องมีการผสมผสานหลักทฤษฎีเข้าด้วยกัน
(2) http://theovertures.multiply.com/ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางจิตวิทยาอาจแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theory)
ทฤษฎีในกลุ่มนี้ อธิบายว่า การเรียนรู้ในสิ่งต่างๆเป็นการสร้างความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ทฤษฎีที่สำคัญในกลุ่มนี้ ได้แก่ ทฤษฎีการเรียนรู้วางเงื่อนไขแบบคลาสสิกหรือแบบสิ่งเร้าและทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive theory)
ทฤษฎีในกลุ่มนี้อธิบายว่า การเรียนรู้เป็นผลของกระบวนการคิด ความเข้าใจ การรับรู้สิ่งเร้าที่มากระตุ้น ผสมผสานกับประสบการณ์ในอดีตที่ผ่านมาของบุคคล ทำให้เกิดการเรียนรู้ขึ้น ซึ่งการผสมผสานระหว่างประสบการณ์ที่ได้รับในปัจจุบันกับประสบการณ์ในอดีต จำเป็นต้องอาศัยกระบวนการทางปัญญาเข้ามามีอิทธิพลในการเรียนรู้ด้วย ทฤษฎีกลุ่มนี้จึงเน้นกระบวนการทางปัญญา มากกว่าการวางเงื่อนไข เพื่อให้เกิดพฤติกรรม ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มนี้ ได้แก่ ทฤษฎีการเรียนรู้ปัญญาทางสังคมการเรียนรู้แบบการหยั่งรู้ เป็นต้น
(3) http://learners.in.th/file/%20%20%20%20%20ทฤษฎีการเรียนรู้ทางจิตวิทยาอาจแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theory)
ทฤษฎีในกลุ่มนี้ อธิบายว่า การเรียนรู้ในสิ่งต่างๆเป็นการสร้างความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ทฤษฎีที่สำคัญในกลุ่มนี้ ได้แก่ ทฤษฎีการเรียนรู้วางเงื่อนไขแบบคลาสสิกหรือแบบสิ่งเร้าและทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive theory)
ทฤษฎีในกลุ่มนี้อธิบายว่า การเรียนรู้เป็นผลของกระบวนการคิด ความเข้าใจ การรับรู้สิ่งเร้าที่มากระตุ้น ผสมผสานกับประสบการณ์ในอดีตที่ผ่านมาของบุคคล ทำให้เกิดการเรียนรู้ขึ้น ซึ่งการผสมผสานระหว่างประสบการณ์ที่ได้รับในปัจจุบันกับประสบการณ์ในอดีต จำเป็นต้องอาศัยกระบวนการทางปัญญาเข้ามามีอิทธิพลในการเรียนรู้ด้วย
สรุป
ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการเรียนรู้มี 2 กลุ่มใหญ่ คือ
1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theory) ทฤษฎีในกลุ่มนี้ อธิบายว่า การเรียนรู้ในสิ่งต่างๆเป็นการสร้างความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive theory) ทฤษฎีในกลุ่มนี้อธิบายว่า การเรียนรู้เป็นผลของกระบวนการคิด ความเข้าใจ การรับรู้สิ่งเร้าที่มากระตุ้น ผสมผสานกับประสบการณ์ในอดีตที่ผ่านมาของบุคคล ทำให้เกิดการเรียนรู้ขึ้น
อ้างอิง
http://gotoknow.org/file/phrakhruniwitthurathon/noi.lpg.doc
http://theovertures.multiply.com/
http://learners.in.th/file/
(1) http://gotoknow.org/file/phrakhruniwitthurathon/noi.lpg.doc ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ มีดังนี้
1. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
แนวความคิดของกลุ่มนี้ถือว่าสิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์จะเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมและการเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อมีการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสอง
2. ทฤษฎีความรู้ความเข้าใจหรือทฤษฎีปัญญา (Cognitive Theories)
แนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มนี้มีความเห็นว่าการศึกษาพฤติกรรมควรเน้นความสำคัญของกระบวนการคิดและการรับรู้ของคน
3. ทฤษฎีของกลุ่มมนุษย์นิยม (Humanisticism )
กลุ่มมนุษย์นิยมจะคำนึงความเป็นคน จะมองธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะที่ว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมกับความดีที่ติดตัวมาแต่เกิด มนุษย์เป็นผู้ที่มีอิสระสามารถที่จะนำตนเองและพึ่งตนเองได้
4. ทฤษฎีผสมผสาน (Integratd Theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการผสมผสานหลักการเรียนรู้ตามทฤษฎีต่างๆ เข้ามาร่วมกันเพื่อทำให้นักเรียนสามารถเลือกใช้หรือเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ซึ่งทั้งหมดนี้จะต้องมีการผสมผสานหลักทฤษฎีเข้าด้วยกัน
(2) http://theovertures.multiply.com/ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางจิตวิทยาอาจแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theory)
ทฤษฎีในกลุ่มนี้ อธิบายว่า การเรียนรู้ในสิ่งต่างๆเป็นการสร้างความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ทฤษฎีที่สำคัญในกลุ่มนี้ ได้แก่ ทฤษฎีการเรียนรู้วางเงื่อนไขแบบคลาสสิกหรือแบบสิ่งเร้าและทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive theory)
ทฤษฎีในกลุ่มนี้อธิบายว่า การเรียนรู้เป็นผลของกระบวนการคิด ความเข้าใจ การรับรู้สิ่งเร้าที่มากระตุ้น ผสมผสานกับประสบการณ์ในอดีตที่ผ่านมาของบุคคล ทำให้เกิดการเรียนรู้ขึ้น ซึ่งการผสมผสานระหว่างประสบการณ์ที่ได้รับในปัจจุบันกับประสบการณ์ในอดีต จำเป็นต้องอาศัยกระบวนการทางปัญญาเข้ามามีอิทธิพลในการเรียนรู้ด้วย ทฤษฎีกลุ่มนี้จึงเน้นกระบวนการทางปัญญา มากกว่าการวางเงื่อนไข เพื่อให้เกิดพฤติกรรม ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มนี้ ได้แก่ ทฤษฎีการเรียนรู้ปัญญาทางสังคมการเรียนรู้แบบการหยั่งรู้ เป็นต้น
(3) http://learners.in.th/file/%20%20%20%20%20ทฤษฎีการเรียนรู้ทางจิตวิทยาอาจแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theory)
ทฤษฎีในกลุ่มนี้ อธิบายว่า การเรียนรู้ในสิ่งต่างๆเป็นการสร้างความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ทฤษฎีที่สำคัญในกลุ่มนี้ ได้แก่ ทฤษฎีการเรียนรู้วางเงื่อนไขแบบคลาสสิกหรือแบบสิ่งเร้าและทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive theory)
ทฤษฎีในกลุ่มนี้อธิบายว่า การเรียนรู้เป็นผลของกระบวนการคิด ความเข้าใจ การรับรู้สิ่งเร้าที่มากระตุ้น ผสมผสานกับประสบการณ์ในอดีตที่ผ่านมาของบุคคล ทำให้เกิดการเรียนรู้ขึ้น ซึ่งการผสมผสานระหว่างประสบการณ์ที่ได้รับในปัจจุบันกับประสบการณ์ในอดีต จำเป็นต้องอาศัยกระบวนการทางปัญญาเข้ามามีอิทธิพลในการเรียนรู้ด้วย
สรุป
ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการเรียนรู้มี 2 กลุ่มใหญ่ คือ
1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theory) ทฤษฎีในกลุ่มนี้ อธิบายว่า การเรียนรู้ในสิ่งต่างๆเป็นการสร้างความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive theory) ทฤษฎีในกลุ่มนี้อธิบายว่า การเรียนรู้เป็นผลของกระบวนการคิด ความเข้าใจ การรับรู้สิ่งเร้าที่มากระตุ้น ผสมผสานกับประสบการณ์ในอดีตที่ผ่านมาของบุคคล ทำให้เกิดการเรียนรู้ขึ้น
อ้างอิง
http://gotoknow.org/file/phrakhruniwitthurathon/noi.lpg.doc
http://theovertures.multiply.com/
http://learners.in.th/file/
1) ทฤษฎีการเรียนรู้เป็นอย่างไร
ใบงานที่ 1
วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์
1) ทฤษฎีการเรียนรู้เป็นอย่างไร
(1) www.sahapun.com/ ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory leaning) การเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเดิมเป็นพฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวรอันเป็นผลมาจากประสบการณ์ การเปลี่ยนพฤติกรรมอาจมี 3 ด้านดังนี้
1. พฤติกรรมด้านสมอง (Cognitive Domain) ได้แก่ความรู้ – จำ ความเข้าใจ
2. พฤติกรรมด้านจิตใจ (Affective Domain) ได้แก่อารมณ์ความเชื่อ ความสนใจ ทัศนคติ
3. พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้อประสาท
(2) http://th.wikipedia.org/wiki ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory leaning) การเรียนรู้คือ กระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนได้จากการได้ยิน การสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี การเรียนรู้ของเด็กและผู้ใหญ่จะต่างกัน เด็กจะเรียนรู้ด้วยการเรียนในห้อง การซักถาม ผู้ใหญ่มักเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ที่มีอยู่แต่การเรียนรู้จะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอนนำเสนอ โดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และสถานการณ์เรียนรู้ให้กับผู้เรียน ดังนั้น ผู้สอนจะต้องพิจารณาเลือกรูปแบบการสอน
(3) http://gotoknow.org/file/ ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory leaning) การเรียนรู้นั้นเกิดขึ้นได้ทุกแห่งในชีวิตประจำวัน การเรียนรู้อาจเกิดจากการลองผิด ลองถูกจากการวางเงื่อนไข ซึ่งอาจเป็นความสัมพันธ์ประสบการณ์เดิมกับสิ่งใหม่ๆหรือการเรียนรู้แบบใดก็ตามถือว่าเป็นการเรียนรู้ทั้งสิ้น หรืออาจเกิดจากความต้องการเป็นแรงผลักดันเพื่อให้เกิดการอยากรู้อยากเห็น และเมื่อเกิดความอยากรู้อยากเห็นแล้วก็จะลงมือกระทำการต่างๆการเรียนเป็นส่วนหนึ่งแห่งการปรับตัวให้เข้ากับสังคมสามารถดำรงชีวิตและพัฒนาสังคมให้ดีขึ้น
สรุป
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory leaning) กระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด การเรียนรู้อาจเกิดจากการลองผิด ลองถูกจากการวางเงื่อนไข ซึ่งอาจเป็นความสัมพันธ์ประสบการณ์เดิมกับสิ่งใหม่ๆ และการเรียนรู้จะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอนนำเสนอ โดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และสถานการณ์เรียนรู้ให้กับผู้เรียน
อ้างอิง
www.sahapun.com/
http://th.wikipedia.org/wiki
http://gotoknow.org/file/
วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์
1) ทฤษฎีการเรียนรู้เป็นอย่างไร
(1) www.sahapun.com/ ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory leaning) การเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเดิมเป็นพฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวรอันเป็นผลมาจากประสบการณ์ การเปลี่ยนพฤติกรรมอาจมี 3 ด้านดังนี้
1. พฤติกรรมด้านสมอง (Cognitive Domain) ได้แก่ความรู้ – จำ ความเข้าใจ
2. พฤติกรรมด้านจิตใจ (Affective Domain) ได้แก่อารมณ์ความเชื่อ ความสนใจ ทัศนคติ
3. พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้อประสาท
(2) http://th.wikipedia.org/wiki ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory leaning) การเรียนรู้คือ กระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนได้จากการได้ยิน การสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี การเรียนรู้ของเด็กและผู้ใหญ่จะต่างกัน เด็กจะเรียนรู้ด้วยการเรียนในห้อง การซักถาม ผู้ใหญ่มักเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ที่มีอยู่แต่การเรียนรู้จะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอนนำเสนอ โดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และสถานการณ์เรียนรู้ให้กับผู้เรียน ดังนั้น ผู้สอนจะต้องพิจารณาเลือกรูปแบบการสอน
(3) http://gotoknow.org/file/ ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory leaning) การเรียนรู้นั้นเกิดขึ้นได้ทุกแห่งในชีวิตประจำวัน การเรียนรู้อาจเกิดจากการลองผิด ลองถูกจากการวางเงื่อนไข ซึ่งอาจเป็นความสัมพันธ์ประสบการณ์เดิมกับสิ่งใหม่ๆหรือการเรียนรู้แบบใดก็ตามถือว่าเป็นการเรียนรู้ทั้งสิ้น หรืออาจเกิดจากความต้องการเป็นแรงผลักดันเพื่อให้เกิดการอยากรู้อยากเห็น และเมื่อเกิดความอยากรู้อยากเห็นแล้วก็จะลงมือกระทำการต่างๆการเรียนเป็นส่วนหนึ่งแห่งการปรับตัวให้เข้ากับสังคมสามารถดำรงชีวิตและพัฒนาสังคมให้ดีขึ้น
สรุป
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theory leaning) กระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด การเรียนรู้อาจเกิดจากการลองผิด ลองถูกจากการวางเงื่อนไข ซึ่งอาจเป็นความสัมพันธ์ประสบการณ์เดิมกับสิ่งใหม่ๆ และการเรียนรู้จะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอนนำเสนอ โดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และสถานการณ์เรียนรู้ให้กับผู้เรียน
อ้างอิง
www.sahapun.com/
http://th.wikipedia.org/wiki
http://gotoknow.org/file/
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)